หลักสูตรตามกฎหมาย การฝึกอบรม ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตรการฝึกอบรม ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ให้บริการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ใบรับรองเลขที่ ๐๕๐๑-๐๓-๒๕๖๔-๐๐๐๒

รอบอบรม
ระยะเวลาอบรม 3 ชั่วโมง

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

หลักสูตร ทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

สถานที่อบรม
จัดอบรมแบบ Public-IN-HOUSE

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

คำอธิบายหลักสูตร

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 หมวด 1 ข้อ 4 กำหนดไว้ว่า ห้ามนายจ้างอนุญาตให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าไปในที่อับอากาศ หากนายจ้างรู้หรือควรรู้ว่าลูกจ้างหรือบุคคลนั้นเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอื่นซึ่งแพทย์เห็นว่า การเข้าไปในที่อับอากาศอาจเป็นอันตรายต่อบุคคลดังกล่าว และนายจ้างหรือบุคคลนั้นได้รับอนุญาตจากผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการอนุญาตตามข้อ 17 และเป็นผู้ผ่านการอบรมตามข้อ 20” เพื่อสนับสนุนให้สถานประกอบกิจการที่อยู่ในข่ายกฎหมายบังคับใช้ได้ปฏิบัติให้ถูกต้องตามที่กำหนดไว้ จึงเปิดให้บริการอบรมหลักสูตรความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ได้แก่ “หลักสูตร การฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ” หมายเหตุ : ข้อ 14 นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างเข้าฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศตามข้อ 13 ทุกห้าปีนับแต่วันสุดท้ายของการฝึกอบรมหลักสูตรตามข้อ 8 ข้อ 9 ข้อ 10 ข้อ 11 หรือข้อ 12 โดยจัดให้ลูกจ้างเข้ารับการฝึกอบรมให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันก่อนครบกำหนดห้าปี ข้อ 20 ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ หรือผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ลงวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2548 และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2549 และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ก่อนที่วันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้นั้นผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ หรือผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศตามประกาศนี้ ผู้ผ่านการฝึกอบมตามวรรคหนึ่ง จะต้องเข้าอบรมตามข้อ 13 ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันก่อนครบกำหนดห้าปีนับแต่วันที่ผ่านการฝึกอบรมดังกล่าว เว้นแต่กรณีที่เป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมตามวรรคหนึ่งมาแล้วตั้งแต่ห้าปีขึ้นไป จะต้องเข้ารับารอบรมตามข้อ 13 ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศนี้มีผลบังคับใช้

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1. เพื่อให้นายจ้างปฏิบัติตามกฏกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. 2562 2. เพื่อให้ลูกจ้างซึ่งเป็นผู้ที่มีหน้าที่ปฏิบัติงานตามคำสั่งของนายจ้างได้รับการฝึกอบรมวิธีการปฏิบัติงาน ในที่อับอากาศตามมาตรฐานหลักสูตรที่กฏหมายกำหนดไว้ และเพื่อให้ปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

กลุ่มเป้าหมาย

บุคลากรในองค์กรที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานในที่อับอากาศตามที่นายจ้างมอบหมายให้ทำหน้าที่เป็นผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฏิบัติงาน ที่เคยผ่านการฝึกอบรมมาแล้วไม่เกิน 5 ปี

บทเฉพาะกาล

ข้อ 20 ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ หรือผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศ ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ ลงวันที่ 31 มกราคม 2548 และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ พ.ศ. 2549 ลงวันที่ 29 กันยายน 2549 และประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการฝึกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2551 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2551 ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้นั้นผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ หรือผู้ปฏิบัติงานในที่อับอากาศตามประกาศนี้ ผู้ผ่านการฝึกอบรมตามวรรคหนึ่ง จะต้องเข้ารับการอบรมตามข้อ 13 ให้แล้วเสร็จภายในสามสิบวันก่อนครบกำหนดห้าปีนับแต่วันที่ผ่านการฝึกอบรมดังกล่าว เว้นแต่กรณีที่เป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมตามวรรคหนึ่งมาแล้วตั้งแต่ห้าปีขึ้นไป จะต้องเข้ารับการอบรมตามข้อ 13 ให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศนี้มีผลบังคับใช้ ข้อ 21 ผู้ผ่านการฝึกอบรมในหลักสูตรการเป็นวิทยากรเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศที่กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานยอมรับ ก่อนวันที่ประกาศนี้มีผลใช้บังคับ ให้ถือว่าผู้นั้นมีคุณสมบัติเป็นวิทยากรตามข้อ 16 ของประกาศนี้

เอกสารประกอบก่อนเข้ารับการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

1. สำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาหนังสือเดินทาง 2. สำเนาวุฒิบัตรการดับเพลิงขั้นต้น 3. สำเนาวุฒิบัตรหลักสูตรอับอากาศ (อายุไม่เกิน 5 ปี)

ทบทวนอับอากาศ
ระยะเวลาอบรม 3 ชั่วโมง

เวลา 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน ทำแบบทดสอบ Pre-Test

ภาคทฤษฎี

(๑) กฏหมายความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ

(๒) ความหมาย ชนิด ประเภทของที่อับอากาศ และอันตรายในที่อับอากาศ

(๓) การบ่งชี้อันตรายและการประเมินสภาพอันตราย การประเมินสภาพพื้นที่และงาน และการเตรียมความพร้อมในการทำงานในที่อับอากาศ

(๔) วิธีการปฏิบัติงานในพื้นที่อับอากาศที่ถูกต้องและปลอดภัย

(๕) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในที่อับอากาศ และอุปกรณ์ช่วยเหลือ และช่วยชีวิตในที่อับอากาศ

(๖) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการขอยกเลิกการอนุญาตทำงานในที่อับอากาศ และหลักการตัดแยกพลังงานเพื่อความปลอดภัย

(๗) บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบของผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฎิบัติงานในที่อับอากาศ และการสื่อสารระหว่างผู้อนุญาต ผู้ควบคุมงาน ผู้ช่วยเหลือ และผู้ปฎิบัติงานในที่อับอากาศ

ทำแบบทดสอบ Post-Test