หลักสูตรตามกฎหมาย ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับปั้นจั่น “ปั่นจั่นชนิดเคลื่อนที่” สำหรับผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น

หลักสูตร ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับปั้นจั่น “ปั่นจั่นชนิดเคลื่อนที่” สำหรับผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ ผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น

ตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร การจัด และการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564

รอบอบรม
ระยะเวลาอบรม จำนวน 3 วัน 24 ชั่วโมง

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

Mobile crane ปั่นจั่นชนิดเคลื่ิอนที่

สถานที่อบรม
จัดอบรมแบบ Public-IN-HOUSE

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ศูนย์ฝึกอบรมล็อกไทย - ไฮแล็ค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

คำอธิบายหลักสูตร

กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 กำหนดให้นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้าง ซึ่งเป็นผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว และต้องจัดให้มีการอบรมหรือทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2564 ทั้งนี้เพื่อให้สถานประกอบกิจการได้จัดให้พนักงานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ในการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่นได้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตรที่กฎหมายกำหนด

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมฯ มีจิตสำนึกความปลอดภัยในการทำงานกับปั้นจั่น ทราบถึงข้อบังคับกฎหมายและความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานกับปั้นจั่นให้ปลอดภัย ทราบรายละเอียดของปั่นจั่น รอก อุปกรณ์ประกอบ และอุปกรณ์การยก 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมฯ ทราบถึงลักษณะปั้นจั่นที่ปลอดภัย สามารถตรวจสอบได้ว่ามีความปลอดภัยก่อนเริ่มทำงานกับปั้นจั่น และตระหนักถึงความจำเป็นของการตรวจสอบและบำรุงรักษาปั้นจั่น 3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมฯ ทราบวิธีการทำงานกับปั้นจั่นอย่างปลอดภัยและสามารถปฏิบัติได้ 4. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมฯ มีความรู้ความเข้าใจการเลือกใช้และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น ระบบสัญญาณเตือน การใช้สัญญาณมือ รวมถึงการประเมินน้ำหนักสิ่งของได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 5. ทดสอบความรู้ของผู้เข้ารับการอบรมฯ ทั้งความรู้ความเข้าใจในภาคทฤษฎี ความสามารถและการปฏิบัติได้จริง และประเมินว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และความสามารถเพียงพอที่จะปฏิบัติงานกับปั่นจั่นได้

ผู้เข้ารับการฝึกอบรม กลุ่มเป้าหมาย

1. บุคคลหรือหน่วยงานที่ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับปั้นจั่น

คุณสมบัติของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

1. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง สามารถมีส่วนร่วมในการฝึกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติได้ 2. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อห้ามที่เกี่ยวข้องกับสารเสพติดและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องแต่งกายสุภาพ ไม่สวมใส่กางเกงขาสั้นและรองเท้าแตะ เมื่อเข้ารับการฝึกอบรมที่ศูนย์ฝึกอบรม 4. ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจะต้องจัดเตรียมและสวมใส่รองเท้านิรภัยเมื่อเข้ารับการฝึกอบรม

เอกสารประกอบก่อนเข้ารับการฝึกอบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรม

1. สำเนาบัตรประชาชน หรือ สำเนาหนังสือเดินทาง

วันที่ 1
ภาคทฤษฎี 15 ชั่วโมง

เวลา 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน ทำแบบทดสอบ Pre-Test

ภาคทฤษฎี

1. ความรู้พื้นฐาน

(1) กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับ เครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2564 และประกาศกระทรวงที่เกี่ยวข้อง

(2) มาตรฐานสัญลักษณ์ความปลอดภัย

(3) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปั้นจั่น และชนิดของปั้นจั่น

(4) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเชือก ลวดสลิง โซ่ และอุปกรณ์ยก

(5) บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น และผู้ยึดเกาะวัสดุ

(6) ความปลอดภัยในการทำงาน สาเหตุและกรณีศึกษาการเกิดอุบัติเหตุของปั้นจั่น

2. ระบบเครื่องยนต์ดีเซลเบื้องต้น

วันที่ 2
ภาคปฏิบัติ 9 ชั่วโมง

เวลา 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน

ภาคทฤษฎี

3. ระบบการไฮดรอลิกเบื้องต้น

4. ระบบไฟฟ้าเบื้องต้น

5. ระบบสัญญาณเตือนและ Limit switch

6. การใช้สัญญาณมือและเครื่องหมายจราจร

7. การอ่านค่าตารางพิกัดยก

8. การเลือกใช้ และการตรวจสอบอุปกรณ์ยก

9. วิธีผูกมัดและการยกเคลื่อนย้าย

วันที่ 3
ระยะเวลาอบรม จำนวน 3 วัน 24 ชั่วโมง

เวลา 08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน

ภาคทฤษฎี

10. การประเมินน้ำหนักสิ่งของ

11. การใช้คู่มือการใช้งาน การตรวจสอบ และการบำรุงรักษาตามระยะเวลา

ภาคปฏิบัติ

ทดสอบหลังอบรม

ทดสอบภาคปฏิบัติเสมือนจริงเกี่ยวกับการยกและเคลื่อนย้ายสิ่งของตามเส้นทางที่กำหนดอย่างถูกต้องและปลอดภัย (หลักสูตรการฝึกอบรมผู้บังคับปั้นจั่นชนิดปั้นจั่นหอสูง รถ เรือปั้นจั่น)